เปิดต้นแบบระบบบำนาญพื้นฐานเพื่อออกแบบระบบบำนาญแห่งชาติที่ทั่วถึงและเท่าเทียม

ประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยอายุ 60 ปีขึ้นไปทุกคน ยกเว้นผู้ได้รับสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์อื่นๆ จากรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะต้องได้รับเบี้ยยังชีพทุกคน ซึ่งตามหลักแล้วเบี้ยยังชีพควรเป็นบำนาญขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุทุกคน

panadda

February 25, 2016

ระบบการดูแลระยะยาวและกำลังคนในการดูแลผู้สูงอายุ: ทิศทางประเทศไทย

หลักประกันที่สำคัญคือ การมีระบบบริการที่สามารถรองรับความต้องการของประชาชนได้ทั้งการส่งเสริม การป้องกัน การรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพ รวมทั้งการดูแลระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง นอกจากนี้ หลักประกันที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ ผู้ดูแล

panadda

February 25, 2016

ประกันสังคมจาก55เป็น60ปี กับความมั่นคงทางสังคมของแรงงาน

หากจะขยายอายุการทำงานของประกันสังคม จาก 55 ปี เป็น 60 ปี สังคม ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือผู้ได้รับผลกระทบ มีความเห็นอย่างไร จะได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์อย่างไรบ้าง ทั้งนี้ เพื่อทราบแนวโน้มว่า นโยบายสาธารณะในอนาคตเกี่ยวกับเรื่องการขยายอายุเกษียณควรจะเป็นอย่างไร

panadda

February 25, 2016

ขยายอายุการทำงานมุมมองต่อภาคอุตสาหกรรม

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากร ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านผลิตภาพของประเทศ จะมีผลกระทบเกิดขึ้นอย่างไร และมุมมองของนักวิชาการต่อการขยายอายุการทำงานในภาคอุตสาหกรรมจะเป็นอย่างไร

panadda

February 25, 2016

สังคมไทยจะก้าวไปอย่างไรบนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร

ด้วยตระหนักว่าผู้สูงอายุเป็นทุนทางปัญญาที่มีคุณค่า พึงที่สังคมจะร่วมกันสร้างคุณค่าของการเป็นผู้สูงอายุ จึงต้องอาศัยกระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักรู้ และจิตสำนึกของสังคม เพื่อสื่อสารในสังคมอย่างกว้างขวาง

panadda

February 25, 2016

ถอดโมเดลระบบบำนาญแห่งชาติเพื่อผู้สูงอายุ

Factsheet เรื่องถอดโมเดล ระบบบำนาญแห่งชาติเพื่อผู้สูงอายุเป็นข้อสรุปจากเวทีเสวนาวิชาการ “เดินหน้า ปฏิรูประบบบำนาญแห่งชาติเพื่อผู้สูงอายุ” ที่จัด ขึ้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2557

noawarat

December 25, 2015

ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ และสังคม สำหรับผู้สูงอายุ

เมืองไทยมีประชากรวัยสูงอายุร้อยละ 14.7 ในปี พ.ศ. 2556 ประมาณการว่าอีก 10 ปีข้างหน้า จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มถึงร้อยละ 21.4 ในปี พ.ศ. 2566 เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพ ในการเฝ้าระวังโรคก่อนเจ็บป่วย และป้องกันไม่ให้กลายเป็นโรคเรื้อรัง รวมถึงชะลอการเกิดภาวะพึ่งพิงออกไปได้นานที่สุด

noawarat

November 11, 2015

ไชโยใครๆก็มีบำนาญได้แล้ว

จากอดีตที่ผ่านมา ผู้มีงานทำบางประเภทเท่านั้นที่มีระบบบำนาญรองรับ ส่วนผู้มีอาชีพอิสระ เกษตรกร ซึ่งเป็นแรงงานนอกระบบยังขาดระบบบำนาญรองรับ

noawarat

November 11, 2015
1 2 3 4