เวทีเปิดคลังความรู้ “องค์ความรู้เพื่อการพัฒนา สูงอายุอย่างมีคุณค่าในบริบทไทย”

งานเปิดคลังความรู้มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย “องค์ความรู้เพื่อการพัฒนา สูงอายุอย่างมีคุณค่าในบริบทไทย” วันอังคารที่ 30 พฤศจิกายน 2564 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ ห้องวิภาวดีบอลรูม เอ,บี ชั้น 1 โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร   มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) มุ่งมั่นขับเคลื่อนงานวิจัยและรวบรวมความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุไทยและต่างประเทศ และส่งเสริมการพัฒนารูปแบบการดำเนินการด้านผู้สูงอายุสำหรับใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุไทย ตลอดจนเผยแพร่ความรู้และวิทยาการเกี่ยวกับผู้สูงอายุให้แก่สังคมโดยรวม โดยจัดให้มีงานวิชาการ และกิจกรรมภาคปฏิบัติ อาทิ 📕 การบรรยายและปาฐกถาพิเศษ 📗 การเสวนาวิชาการ 📚 นิทรรศการผลงานวิจัย พร้อมเปิดพื้นที่พูดคุยแลกเปลี่ยนประเด็นวิชาการ 📘 กิจกรรมส่งเสริมพฤฒพลังสำหรับผู้สูงอายุ เช่น 📍 โยคะสำหรับผู้สูงอายุ 📍 Workshop เมนูสุขภาพผู้สูงวัย 📍 การสอนการแต่งหน้าและการแต่งกาย 📍บรรยายธรรม ผู้ที่สนใจ สามารถสำรองที่นั่งเข้าร่วมงานได้ที่ โทร 063-550-1431

bua

November 19, 2021

มส.ผส.จัดเวที สูงวัยในที่เดิมเห็นพ้องให้ผู้สูงอายุอยู่อาศัยในบ้าน-ชุมชนอย่างมีศักดิ์ศรีพึ่งพาตนเองได้

โดยรัฐต้องสนับสนุนที่อยู่อาศัย-การซ่อมแซม-จัดบริการด้านอื่น ให้มีที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม เผย สถิติ คนชรามีความไม่มั่นคงในเรื่องที่อยู่สูงกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ เสนอตั้ง ครม.แผนผู้สูงอายุ กำกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแบบองค์รวม

noawarat

October 20, 2021

นักวิชาการ เบรกแนวคิดปรับเบี้ยยังชีพคนชรา จากสวัสดิการของรัฐเป็นระบบสงเคราะห์

เมื่อวันที่ 30 กันยายน มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุ (มส.ผส.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดเวทีสาธารณะ“เช็กอาการ X-Ray เบี้ยยังชีพ สู่บำนาญแห่งชาติ” โดยมีผู้ร่วมเสวนาประกอบด้วย นางศิริลักษณ์ มีมาก ผู้เชียวชาญด้านผู้สูงอายุ กรมกิจการผู้สูงอายุ,นายนิมิตร์ เทียนอุดม เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการ และศ.ดร.วรเวศม์ สุวรรณระดา คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย​

noawarat

October 11, 2021

เปิดข้อมูลผู้สูงอายุอ่วมผลกระทบโควิดเสี่ยงสูง-เข้าไม่ถึงแอพฯช่วยเหลือจากรัฐบาล

นักวิชาการเตือนไทยรับมือสึนามึสังคมสูงอายุ ชี้ปี 65 ไทยเข้าสู่สังคมผู้สงวัยอย่างสมบูรณ์ มีประชากร 60 ปี มากกว่า 20 %

noawarat

October 9, 2021

เปิดคู่มือ Home Isolation ตอนที่ 2 กักตัวที่บ้านต้องทำอะไรบ้าง

“Home Isolation” หรือ การแยกกักตัวที่บ้านผ่านระบบติดตามดูแลอาการ เป็นทางเลือกหนึ่งในการรักษาผู้ป่วยโควิดอาการไม่รุนแรง (ผู้ป่วยสีเขียว) หรือ ผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาลมาแล้วอย่างน้อย 7-10 วันจนสามารถกลับไปพักฟื้นที่บ้านต่อได้

noawarat

August 20, 2021

เปิดคู่มือ Home Isolation ตอนที่ 1 อาการแบบไหนแยกกักที่บ้านได้

ข้อดีของการแยกกักตัวที่บ้านสำหรับผู้ป่วยสีเขียว ซึ่งนอกจากจะช่วยลดความเสี่ยงในการสัมผัสเชื้อเพิ่มแล้ว การอยู่บ้านยังช่วยลดความเครียด ทำให้สุขภาพจิตดีขึ้น เมื่อสุขภาพจิตที่ดีทำให้ร่างกายฟื้นตัวได้เร็วขึ้น และช่วยให้คนป่วยที่เพิ่งตรวจพบเชื้อได้รับการดูแลรักษาที่เร็วขึ้น แก้ปัญหาที่เข้าไม่ถึงการระบบบริการทางการแพทย์

noawarat

August 19, 2021

เผยผลศึกษา ผู้สูงอายุถึง 96 เปอร์เซ็นต์อยู่ลำบากแนะ รัฐ ต้องพัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุ ร่างกาย-จิตใจ

วงเสวนาออนไลน์ “สุขสูงวัยเตรียมได้ในบ้านหลังเดิม” เผยผลศึกษา ผู้สูงอายุถึง 96 เปอร์เซ็นต์อยู่ลำบากแนะ รัฐ ต้องพัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุ ร่างกาย-จิตใจ ให้รู้สึกว่าไม่ถูกทอดทิ้ง พร้อมเร่งกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ให้ชุมชนร่วมดูแล สร้างสภาพแวดล้อมให้อยู่อย่างปลอดภัย

noawarat

July 15, 2021

เวทีเสวนา เฟคนิวส์กับผู้สูงอายุรู้เท่าทันสื่ออย่างปลอดภัย เห็นพ้อง พบปัญหาผู้สูงวัยไม่ตรวจสอบข้อมูลก่อนแชร์

เสวนาออนไลน์ สูงวัยไปด้วยกัน “เฟคนิวส์กับผู้สูงอายุ รู้เท่าทันสื่ออย่างปลอดภัย” โดยมี นายกฤตตฤณ พรมเสน มูลนิธิคนตัวดี , นส.ระวีวรรณ ทรัพย์อินทร์ อาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาตรี การจัดการมรดกวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (BMCI) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , นส.ปราณี รัตนาไกรศรี อาสาสมัครสาธารณสุข กรุงเทพฯ ตัวแทนผู้สูงอายุรู้เท่าทันสื่อ , นายพีรพล อนุตรโสตถิ์ ผู้ผลิตและผู้ดำเนินรายการชัวร์ก่อนแชร์ และนส.สาริสา กนกธัญรัชต์ ผู้จัดการโครงการ YoungHappy

noawarat

June 26, 2021

ชีวิตวิถีใหม่ยุคโควิดห่วงผู้สูงอายุอยู่แต่บ้าน ไม่ใส่ฟันปลอมทำฟันแท้เคลื่อน

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้วิถีชีวิตของคนต้องเปลี่ยนแปลงไป ใช้ชีวิตแบบ “New Normal” รักษาระยะห่างระหว่างกัน ทำให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ต้องอยู่บ้าน งดพบปะทางสังคม เพื่อไม่ให้มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ​การที่ไม่พบเจอใคร อาจทำให้ผู้สูงอายุบางคนตัดสินใจเลิกใส่ฟันปลอม ซึ่งการที่ไม่ได้ใส่ฟันปลอมนานๆอาจส่งผลให้ฟันแท้เคลื่อนที่ และทำให้ฟันปลอมที่ใส่อยู่นั้น ไม่พอดีกับช่องปากอีกต่อไป

noawarat

June 13, 2021
1 2 3 4 16