เช็คสถานการณ์ทางประชากรสูงอายุไทย สำรวจโอกาสและความท้าทาย

รายงานฉบับประชาชน – ฉบับเนื้อหา โครงการการทบทวน สังเคราะห์ และจัดทำข้อเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุไทย โดยศ.ดร.วรเวศม์ สุวรรณระดา คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะผู้วิจัย ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนโดยโครงการขับเคลื่อนกลยุทธ์เพื่อพัฒนางานด้านผู้สูงอายุและการสื่อสารสาธารณะเพื่อรองรับสังคมสูงอายุ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ระบุว่า ในปัจจุบัน มีผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยที่ตกอยู่ในภาวะยากลำบากหลายมติ

noawarat

January 6, 2022

ทำอย่างไรให้มีงานทำหลังวัยเกษียณ ตอนที่ 7 : ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงการพัฒนาทักษะแรงงานสูงวัย

ผลการดำเนินงานพัฒนาทักษะแรงงานสูงอายุที่ผ่านมา พบว่าจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาทักษะและส่งเสริมการทำงาน โดยเฉพาะภายใต้แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ในช่วง 5 ปีย้อนหลังมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

noawarat

December 29, 2021

ทำอย่างไรให้มีงานทำหลังวัยเกษียณ ตอนที่ 6 : สำรวจ 3 กองทุนพัฒนาแรงงานสูงวัย

การกำหนดมาตรการสนับสนุน-อุดหนุนเพื่อสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาและยกระดับทักษะแรงงานสูงอายุ เป็นอีกหนึ่งข้อเสนอที่สำคัญในการศึกษาเรื่อง “ข้อเสนอเชิงวิชาการการพัฒนาทักษะการทำงาน (RE-SKILL and UP-SKILL) เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ผู้สูงอายุ

noawarat

December 29, 2021

ทำอย่างไรให้มีงานทำหลังวัยเกษียณ ตอนที่ 5 : เปิดข้อเสนอแนวทางปฏิบัตพัฒนาทักษะการทำงานผู้สูงอายุไทย

หนึ่งในความท้าทายของประเทศ คือ การก้าวผ่านสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากร ที่สัดส่วนของประชากรสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สัดส่วนประชากรวัยเด็ก และวัยแรงงานมีจำนวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด

noawarat

December 29, 2021

ทำอย่างไรให้มีงานทำหลังวัยเกษียณ ตอนที่ 4 : สำรวจสถานภาพ5กลุ่มแรงงานตอนปลาย-สูงวัย

กลุ่มวัยแรงงานตอนปลายที่หลุดจากระบบหรือต้องการเปลี่ยนงานใหม่ (อายุ 45 ปี ขึ้นไป) อยู่ในสถานะเพิ่งถูกเลิกจ้างหรือลาออกจากงานเดิม โดยพบว่าในช่วงมากกว่า 10 ปีที่ผ่านมา เริ่มมีกลุ่มแรงงานที่ประสบกับวิกฤติการทำงานและ “วิกฤติวัยกลางคน” ทำให้หลุดออกจากการทำงานในระบบ

noawarat

December 29, 2021

ทำอย่างไรให้มีงานทำหลังวัยเกษียณ ตอนที่ 3 : สำรวจหน่วยงานพัฒนาทักษะของแรงงานสูงอายุในต่างประเทศ

ญี่ปุ่น ได้จัดตั้ง “Silver Human Resource Center” มานานกว่า 20 ปี โดยเป็นหน่วยงานที่ได้รับทุนสนับสนุนการดำเนินงานจากระทรวงแรงงาน มีการจัดตั้งศูนย์กระจายอยู่ทั่วประเทศ เพื่อทำหน้าที่จับคู่ ระหว่างผู้สูงอายุที่ต้องการทำงานกับบริษัทเอกชน หรือผู้ประกอบการ หรือผู้ต้องการจ้างงาน/ซื้อบริการแบบบางเวลาจากผู้สูงอายุ โดยลักษณะงานจะเป็นงานพาร์ทไทม์หรืองานชั่วคราว

noawarat

December 29, 2021

ข้อเสนอเชิงวิชาการการพัฒนาทักษะการทำงาน (RE-SKILL and UP-SKILL) เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ผู้สูงอายุ

เมื่อผู้สูงอายุมีจำนวนมากขึ้น ย่อมเกิดเป็นภาระทางการคลังในการจัดสวัสดิการให้กับผู้สูงอายุ ไม่ว่าจะเป็นเบี้ยผู้สูงอายุ งบประมาณที่ใช้ในการรักษาพยาบาล อีกทั้งยังมีผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยที่ไม่สามารถเตรียมความพร้อมทางการเงินและการจัดที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมในยามชราภาพได้จึงต้องพึ่งพาสวัสดิการจากรัฐ  แต่ทว่าประชากรวัยแรงงาน ที่จะมาทำหน้าที่ส่งผ่านความกินดีอยู่ดีให้กับผู้สูงอายุกลับมีแนวโน้มลดลงอย่างชัดเจน  

noawarat

December 29, 2021

“โควิด-19” ตัวเร่ง ทำให้สาธารณสุขทางไกลเบ่งบาน เผย สถิติส่งยา -เวชภัณฑ์ จากรพ.สู่บ้านผู้ป่วย 1 ปี ส่งไปแล้วกว่า 3 แสนครั้ง

รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2563 ซึ่งจัดทำโดยมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ  ระบุว่า การสาธารณสุขทางไกลในประเทศไทย เริ่มมีมาตั้งแต่ปี 2537  ในระยะแรกระบบนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาการรักษาพยาบาลให้กับประชาชนที่อยู่ห่างไกล และพื้นที่ทางไกลบางแห่งของประเทศที่ยังขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์

noawarat

December 29, 2021

26 องค์กรประกาศเจตนารมณ์ขับเคลื่อนนโยบาย 80 ปีฟันดี 20 ซี่ เติมเต็มคุณภาพชีวิตให้ผู้สูงวัย

นับถอยหลังเหลืออีกเพียงหนึ่งเดือนเท่านั้นที่ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสมบูรณ์ในปี 2565 เพราะไทยจะมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุถึงร้อยละ 20นอกจากความสำคัญในเรื่องของสุขภาพกายแล้ว สุขภาพช่องปากถือเป็นอีกมิติหนึ่งที่ต้องให้ความสำคัญ ด้วยเพราะสุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด นอกจากนี้ยังเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดในสมองตีบตันด้วย

noawarat

December 29, 2021
1 2 3 4 28