การทบทวนเอกสารด้านสุขภาพและการดูแลระยะยาวของผู้สูงอายุที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย

ในปัจจุบันผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเพราะเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ช่วยให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาว แต่สภาวะสังคมไทยนั้นเปลี่ยนไปจากเดิม กล่าวคือ จากครอบครัวขยาย (Extended Family) ที่รูปแบบครอบครับประกอบด้วย ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ และลูกหลานอาศัยอยู่รวมกัน กลายเป็นครอบครัวเล็กหรือครอบครัวเดี่ยว

editor

November 1, 2015

โครงการผลสัมฤทธิ์การใช้บริการสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพมากกกว่าประชากรวัยหนุ่มสาวและวัยกลางคน เมื่อดูจากอัตราการใช้บริการตรวจร่างกายประจำปี ซึ่งดำเนินการโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งอัตราที่สูงกว่าอัตราการใช้บริการประชากรวัยแรงงาน (15-59 ปี) เล็กน้อย โดยผู้สูงอายุได้รับการตรวจร่างกายประจำปีร้อยละ 25 ของผู้สูงอายุทั้งหมด

editor

November 1, 2015

ความเป็นผู้สูงอายุ มุมมองที่แตกต่าง

ในอดีตประเทศที่เริ่มพัฒนาระบบสวัสดิการมองว่าผู้ที่อยู่ในวัยสูงอายุจะมีความเสื่อมถอยทั้งทางรางกายและทางจิตใจ ควรจะได้พักผ่อน รับสวัสดิการจากรัฐ ฉะนั้นนิยามผู้สูงอายุจึงผูกติดกับอายุเกษียณตลอดเวลา ซึ่งเป็นแนวคิดในระยะต้น ในตอนนี้เราจึงขอเน้นคำสองคำคือ “ผู้สูงอายุ” กับ “ผู้เกษียณอายุ” จำเป็นต้องเป็นตัวเดียวกันหรือไม่

editor

November 1, 2015

ทำไมต้องหยุดที่ 60

ผู้สูงอายุในปัจจุบันนี้ แม้จะมีอายุล่วงเลยวัย 60 ปีไปแล้ว แต่ส่วนใหญ่พบว่ายังมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง พร้อมทั้งยังศักยภาพในการทำางานเต็มเปี่ยมด้วยเหตุนี้จากกติกาเดิมของสังคมไทยที่ระบุว่า อายุการทำงานที่เหมาะสมสำาหรับคนไทยควรยุติที่อายุ 60

editor

November 1, 2015

สมการ "ทุกข์-สุข" ยามชรา

เสียงหัวเราะดังลอดจากห้องตรวจ ใบหน้าเปื้อนยิ้มของยายวัย 60 ปี หลังแกเดินออกจากการพูดคุย ถามไถ่อาการของแพทย์โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช กุฉินารายณ์ บอกได้ว่าแกมีความสุขมากแค่ไหน

editor

November 1, 2015

คู่มือสูงวัยอย่างสมาร์ท

ปัจจุบันประชากรไทยมีอายุยืนยาวขึ้นมาก โดยผู้หญิงจะมีอายุยืนยาวกว่าผู้ชาย จะเห็นได้จากสถิติอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของผู้หญิงไทยเพิ่มจาก 64 ปี (ในปี 2517) เป็น 78 ปี (ในปี 2548)

editor

November 1, 2015

มโนทัศน์ใหม่ นิยามผู้สูงอายุและการขยายอายุเกษียณ

สังคมไทยได้ก้าวสู่ความท้าทายใหม่ในการเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างเต็มรูปแบบแล้ว ด้วยภาวะสุขภาพของประชาชนไทยที่ดีขึ้นทำให้มีอายุยืนยาวมากขึ้น แต่ขณะเดียวกันอัตราเกิดก็ลดต่ำลงจึงจำเป็นต้องมีการเตรียมพร้อมทางนโยบายในการจัดการปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต

editor

November 1, 2015

ยากันลืม คู่มือป้องกันในผู้สูงอายุ

คนส่วนใหญ่เชื่อกันมาตลอดว่าปัญหาที่เกี่ยวกับสมองประเภทความจำเสื่อม ความจำถดถอย และขี้หลงขี้ลืมนั้นเป็นเรื่องปกติธรรมดาที่ต้อง เกิดขึ้นอย่างแน่นอนในผู้สูงอายุ ทำให้น้อยนักจะมีใครสนใจใส่ใจดูแลตนเองเพื่อให้สมองคงประสิทธิภาพอยู่กับเราไปนานๆ

editor

November 1, 2015

ยากันล้ม คู่มือป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุหลายคนเมื่อไปพบแพทย์มักจะมีความหวังว่าแพทย์ต้องให้การรักษา หรือให้ยาที่จะทำให้หายจากโรคต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วทันทีทันใด แต่ในความเป็นจริงการป้องกันหรือรักษาอาการป่วยต่างๆ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย

editor

November 1, 2015
1 2