เปิดต้นแบบระบบบำนาญพื้นฐานเพื่อออกแบบระบบบำนาญแห่งชาติที่ทั่วถึงและเท่าเทียม

ประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยอายุ 60 ปีขึ้นไปทุกคน ยกเว้นผู้ได้รับสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์อื่นๆ จากรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะต้องได้รับเบี้ยยังชีพทุกคน ซึ่งตามหลักแล้วเบี้ยยังชีพควรเป็นบำนาญขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุทุกคน

panadda

February 25, 2016

ระบบการดูแลระยะยาวและกำลังคนในการดูแลผู้สูงอายุ: ทิศทางประเทศไทย

หลักประกันที่สำคัญคือ การมีระบบบริการที่สามารถรองรับความต้องการของประชาชนได้ทั้งการส่งเสริม การป้องกัน การรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพ รวมทั้งการดูแลระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง นอกจากนี้ หลักประกันที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ ผู้ดูแล

panadda

February 25, 2016

ประกันสังคมจาก55เป็น60ปี กับความมั่นคงทางสังคมของแรงงาน

หากจะขยายอายุการทำงานของประกันสังคม จาก 55 ปี เป็น 60 ปี สังคม ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือผู้ได้รับผลกระทบ มีความเห็นอย่างไร จะได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์อย่างไรบ้าง ทั้งนี้ เพื่อทราบแนวโน้มว่า นโยบายสาธารณะในอนาคตเกี่ยวกับเรื่องการขยายอายุเกษียณควรจะเป็นอย่างไร

panadda

February 25, 2016

ขยายอายุการทำงานมุมมองต่อภาคอุตสาหกรรม

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากร ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านผลิตภาพของประเทศ จะมีผลกระทบเกิดขึ้นอย่างไร และมุมมองของนักวิชาการต่อการขยายอายุการทำงานในภาคอุตสาหกรรมจะเป็นอย่างไร

panadda

February 25, 2016

สังคมไทยจะก้าวไปอย่างไรบนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร

ด้วยตระหนักว่าผู้สูงอายุเป็นทุนทางปัญญาที่มีคุณค่า พึงที่สังคมจะร่วมกันสร้างคุณค่าของการเป็นผู้สูงอายุ จึงต้องอาศัยกระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักรู้ และจิตสำนึกของสังคม เพื่อสื่อสารในสังคมอย่างกว้างขวาง

panadda

February 25, 2016

ผ่าข้อกฏหมายเสนอโมเดลท้องถิ่นดูแลผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน

การดูแลผู้สูงอายุให้มีคุณภาพเป็นเรื่องจำเป็นที่หน่วยงานต้องเข้ามาดำเนินการอย่างเร่งด่วน ให้เป็นแบบแผนและเป็นระบบ โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องเป็นหน่วยงานหลัก แต่ที่ผ่านมายังพบปัญหาและอุปสรรค์ในการทำงาน

panadda

February 25, 2016