หนังสือชุดองค์ความรู้เรื่อง สูงวัย ไม่เกษียณ

หนังสือชุดองค์ความรู้เรื่อง สูงวัย ไม่เกษียณ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)   มุมมองอันเป็นอคติต่อผู้สูงอายุว่าเป็นผู้รอรับการช่วยเหลือและไม่ช่วยยกระดับและเพิ่มมูลค่าทางเศรษกิจเป็นเรื่องที่สังคมควรให้ความสนใจและปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อผู้สูงอายุ “สังคมสูงวัย” ของประเทศไทยนั้น หากภาครัฐและเอกชนสามารถเปิดกว้างและส่งเสริมศักยภาพด้านการทำงานและสร้างรายได้ให้เพียงพอต่อการดำรงชีพของผู้สูงอายุ ไม่เพียงช่วยให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุดีขึ้น แต่จะช่วยขับเคลื่อนเศรษกิจของประเทศและเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมได้อย่างยั่งยืน    

bua

September 12, 2022

หนังสือชุดองค์ความรู้เรื่อง แก่แบบสบาย สูงวัยแบบสง่า

หนังสือชุดองค์ความรู้เรื่อง แก่แบบสบาย สูงวัยแบบสง่า มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)   ระบบบริการสุขภาพที่มีอยู่ในปัจจุบันจะสามารถรับมือกับ “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์” (complete aged society) และการเพิ่มขึ้นของประชากรสูงอายุอย่างรวดเร็วได้มีประสิทธิภาพและทั่วถึงได้อย่างไร ดังที่องค์การสหประชาชาติประกาศให้ปี 2021 – 2030 เป็น “ทศวรรษแห่งการสูงวัยที่มีสุขภาพดี” สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้อยู่สบายและสง่างาม    

bua

September 12, 2022

การจัดการทรัพย์สินของผู้สูงอายุไทย

การจัดการทรัพย์สินของผู้สูงอายุเป็นเรื่องที่มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าเรื่องสุขภาวะ การรักษาพยาบาล และการถูกละเมิดสิทธิและความรุนแรงต่อผู้สูงอายุ การจัดการทรัพย์สินที่เหมาะสมของผู้สูงอายุจะช่วยให้ผู้สูงอายุ มีสถานภาพทางเศรษฐกิจที่ดี และยังส่งผลทางอ้อมต่อความเพียงพอ ของการออมในการดำรงชีพ รวมทั้งพื้นฐานสำคัญของความเป็นอยู่ที่ดีไปจนตลอดชีวิต รองศาสตราจารย์ ดร.สันติ ถิรพัฒน์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์  

bua

July 4, 2022

สำรวจผู้สูงวัย 6 กลุ่มเปราะบาง ความท้าทายที่ต้องเผชิญ

ลศึกษาชี้ ผู้สูงอายุในสภาวะพึ่งพิง ที่ข้อจำกัดในการเคลื่อนไหวจะทะลุ10ล้านรายในปี 2593  ห่วง กลุ่มคนไร้บ้านจะเป็นสังคมสูงวัยเช่นกัน ซ้ำร้ายปัญหาทางเศรษฐกิจ ทำให้มีคนไร้บ้านหน้าใหม่อายุ50ปีขึ้นไปมากขึ้น

noawarat

January 6, 2022

เช็คสถานการณ์ทางประชากรสูงอายุไทย สำรวจโอกาสและความท้าทาย

รายงานฉบับประชาชน – ฉบับเนื้อหา โครงการการทบทวน สังเคราะห์ และจัดทำข้อเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุไทย โดยศ.ดร.วรเวศม์ สุวรรณระดา คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะผู้วิจัย ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนโดยโครงการขับเคลื่อนกลยุทธ์เพื่อพัฒนางานด้านผู้สูงอายุและการสื่อสารสาธารณะเพื่อรองรับสังคมสูงอายุ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ระบุว่า ในปัจจุบัน มีผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยที่ตกอยู่ในภาวะยากลำบากหลายมติ

noawarat

January 6, 2022

ทำอย่างไรให้มีงานทำหลังวัยเกษียณ ตอนที่ 7 : ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงการพัฒนาทักษะแรงงานสูงวัย

ผลการดำเนินงานพัฒนาทักษะแรงงานสูงอายุที่ผ่านมา พบว่าจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาทักษะและส่งเสริมการทำงาน โดยเฉพาะภายใต้แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ในช่วง 5 ปีย้อนหลังมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

noawarat

December 29, 2021

ทำอย่างไรให้มีงานทำหลังวัยเกษียณ ตอนที่ 6 : สำรวจ 3 กองทุนพัฒนาแรงงานสูงวัย

การกำหนดมาตรการสนับสนุน-อุดหนุนเพื่อสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาและยกระดับทักษะแรงงานสูงอายุ เป็นอีกหนึ่งข้อเสนอที่สำคัญในการศึกษาเรื่อง “ข้อเสนอเชิงวิชาการการพัฒนาทักษะการทำงาน (RE-SKILL and UP-SKILL) เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ผู้สูงอายุ

noawarat

December 29, 2021

ทำอย่างไรให้มีงานทำหลังวัยเกษียณ ตอนที่ 5 : เปิดข้อเสนอแนวทางปฏิบัตพัฒนาทักษะการทำงานผู้สูงอายุไทย

หนึ่งในความท้าทายของประเทศ คือ การก้าวผ่านสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากร ที่สัดส่วนของประชากรสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สัดส่วนประชากรวัยเด็ก และวัยแรงงานมีจำนวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด

noawarat

December 29, 2021

ทำอย่างไรให้มีงานทำหลังวัยเกษียณ ตอนที่ 4 : สำรวจสถานภาพ5กลุ่มแรงงานตอนปลาย-สูงวัย

กลุ่มวัยแรงงานตอนปลายที่หลุดจากระบบหรือต้องการเปลี่ยนงานใหม่ (อายุ 45 ปี ขึ้นไป) อยู่ในสถานะเพิ่งถูกเลิกจ้างหรือลาออกจากงานเดิม โดยพบว่าในช่วงมากกว่า 10 ปีที่ผ่านมา เริ่มมีกลุ่มแรงงานที่ประสบกับวิกฤติการทำงานและ “วิกฤติวัยกลางคน” ทำให้หลุดออกจากการทำงานในระบบ

noawarat

December 29, 2021
1 2 3 4 29