ขยายอายุการทำงานมุมมองต่อภาคอุตสาหกรรม
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากร ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านผลิตภาพของประเทศ จะมีผลกระทบเกิดขึ้นอย่างไร และมุมมองของนักวิชาการต่อการขยายอายุการทำงานในภาคอุตสาหกรรมจะเป็นอย่างไร
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากร ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านผลิตภาพของประเทศ จะมีผลกระทบเกิดขึ้นอย่างไร และมุมมองของนักวิชาการต่อการขยายอายุการทำงานในภาคอุตสาหกรรมจะเป็นอย่างไร
ด้วยตระหนักว่าผู้สูงอายุเป็นทุนทางปัญญาที่มีคุณค่า พึงที่สังคมจะร่วมกันสร้างคุณค่าของการเป็นผู้สูงอายุ จึงต้องอาศัยกระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักรู้ และจิตสำนึกของสังคม เพื่อสื่อสารในสังคมอย่างกว้างขวาง
การดูแลผู้สูงอายุให้มีคุณภาพเป็นเรื่องจำเป็นที่หน่วยงานต้องเข้ามาดำเนินการอย่างเร่งด่วน ให้เป็นแบบแผนและเป็นระบบ โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องเป็นหน่วยงานหลัก แต่ที่ผ่านมายังพบปัญหาและอุปสรรค์ในการทำงาน
การบูรณาการบริการสุขภาพและสังคม ต้องเริ่มจากการกำหนดหน่วยงานที่เป็นกลางในการกำหนดโยบายและการจัดสรรทรัพยากรการบริหารจัดการที่มุ่งเน้นท้องถิ่นเป็นหลัก การถ่ายโอนความรับผิดชอบในการดูแลระยะยาวไปยังหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น
การคำนึงถึงอาคารสถานที่ที่มีความเหมาะสมต่อผู้สูงอายุ ย่อมเป็นการแสดงกตเวทิตาอย่างสำคัญ และเป็นรูปธรรม นอกเหนือไปจากการแสดงถึงความเป็นสังคมอารยะที่เปิดกว้างสำหรับทุกผู้ทุกคน ให้ใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติสุข
การหกล้มในผู้สูงอายุนำไปสู่การบาดเจ็บที่รุนแรงได้ ซึ่งความสามารถในการซ่อมแซมเนื้อเยื่อต่างๆ ก็ลดลง ทำให้ร่างกายไม่แข็งแรงดังเดิม และไม่สามารถทำกิจกรรมต่างๆ ได้เช่นเดิม ฉะนั้น การหกล้มในผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ และต้องป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นบ่อย รวมถึงการลดความเสี่ยงในการหกล้ม
ถ้ามีการเกษียณอายุราชการที่ 65 ปี การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวย่อมมีผลกระทบสำคัญต่อภาคเอกชน และทุกส่วนของสังคมอย่างแน่นอน แต่แนวโน้มจะเป็นอย่างไร มีผลกระทบอย่างไร และใครได้ใครเสีย
รายงานการสังเคราะห์ระบบการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาว (Long-term Care) สำหรับประเทศไทยฉบับนี้ เป็นการสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ผ่านมาทั้งของไทยเองและของต่างประเทศ
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการ “การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตข้ามพื้นที่ของผู้สูงอายุระดับท้องถิ่นในจังหวัดนครราชสีมา”โดยนายแพทย์นิวัฒน์ชัย นามวิชัยศิริกุล