สารสุขผู้สูงวัยฉบับที่ 3
สารสุขผู้สูงวัยฉบับที่ 3 : สารสุขผู้สูงวัยฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2557
สารสุขผู้สูงวัยฉบับที่ 3 : สารสุขผู้สูงวัยฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2557
สารสุขผู้สูงวัยฉบับปฐมฤกษ์ : ปฏิรูประบบบำนาญแห่งชาติเพื่อผู้สูงวัย
สารสุขผู้สูงวัยฉบับที่ 2 : ถึงเวลายกเครื่องระบบสุขภาพผู้สูงอายุไทย
ในห้วงที่ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ทางการเมือง บทบาทของการเมืองของภาคประชาชนที่ต่อสู้เรื่องการเพิ่มสิทธิสวัสดิการคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐานเพื่อผู้สูงอายุไทยก็ยังคงเข้มข้นและเดินหน้าต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง
“กองทุนการออมแห่งชาติ” เรียกสั้นๆว่า กอช. เป็นกองทุนที่เป็นความหวังของคนรากหญ้าที่จะสร้างวินัยการออมเงินไว้ใช้ในช่วงโค้งสุดท้ายของชีวิต ทำให้หลังอายุ 60 ปีเต็มไปด้วยรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ยืนได้ด้วยลำแข้งของตนเอง เพราะเป็นวัยเก๊าที่มีเงิน
31 ตุลาคมของทุกปี เป็นวันออมแห่งชาติ เลขาธิการมส.ผส. ชวนสมัครกองทุน กอช.สร้างหลักประกันรายได้ด้วยตนเอง หลังพบแรงงานนอกระบบในไทยมากถึง 2 ใน 3 ไม่หลักประกันนอกจากเบี้ยยังชีพ
ในอดีตประเทศที่เริ่มพัฒนาระบบสวัสดิการมองว่าผู้ที่อยู่ในวัยสูงอายุจะมีความเสื่อมถอยทั้งทางรางกายและทางจิตใจ ควรจะได้พักผ่อน รับสวัสดิการจากรัฐ ฉะนั้นนิยามผู้สูงอายุจึงผูกติดกับอายุเกษียณตลอดเวลา ซึ่งเป็นแนวคิดในระยะต้น ในตอนนี้เราจึงขอเน้นคำสองคำคือ “ผู้สูงอายุ” กับ “ผู้เกษียณอายุ” จำเป็นต้องเป็นตัวเดียวกันหรือไม่
ผู้สูงอายุในปัจจุบันนี้ แม้จะมีอายุล่วงเลยวัย 60 ปีไปแล้ว แต่ส่วนใหญ่พบว่ายังมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง พร้อมทั้งยังศักยภาพในการทำางานเต็มเปี่ยมด้วยเหตุนี้จากกติกาเดิมของสังคมไทยที่ระบุว่า อายุการทำงานที่เหมาะสมสำาหรับคนไทยควรยุติที่อายุ 60
เสียงหัวเราะดังลอดจากห้องตรวจ ใบหน้าเปื้อนยิ้มของยายวัย 60 ปี หลังแกเดินออกจากการพูดคุย ถามไถ่อาการของแพทย์โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช กุฉินารายณ์ บอกได้ว่าแกมีความสุขมากแค่ไหน