คู่มือสูงวัยอย่างสมาร์ท
ปัจจุบันประชากรไทยมีอายุยืนยาวขึ้นมาก โดยผู้หญิงจะมีอายุยืนยาวกว่าผู้ชาย จะเห็นได้จากสถิติอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของผู้หญิงไทยเพิ่มจาก 64 ปี (ในปี 2517) เป็น 78 ปี (ในปี 2548)
ปัจจุบันประชากรไทยมีอายุยืนยาวขึ้นมาก โดยผู้หญิงจะมีอายุยืนยาวกว่าผู้ชาย จะเห็นได้จากสถิติอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของผู้หญิงไทยเพิ่มจาก 64 ปี (ในปี 2517) เป็น 78 ปี (ในปี 2548)
สังคมไทยได้ก้าวสู่ความท้าทายใหม่ในการเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างเต็มรูปแบบแล้ว ด้วยภาวะสุขภาพของประชาชนไทยที่ดีขึ้นทำให้มีอายุยืนยาวมากขึ้น แต่ขณะเดียวกันอัตราเกิดก็ลดต่ำลงจึงจำเป็นต้องมีการเตรียมพร้อมทางนโยบายในการจัดการปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
คนส่วนใหญ่เชื่อกันมาตลอดว่าปัญหาที่เกี่ยวกับสมองประเภทความจำเสื่อม ความจำถดถอย และขี้หลงขี้ลืมนั้นเป็นเรื่องปกติธรรมดาที่ต้อง เกิดขึ้นอย่างแน่นอนในผู้สูงอายุ ทำให้น้อยนักจะมีใครสนใจใส่ใจดูแลตนเองเพื่อให้สมองคงประสิทธิภาพอยู่กับเราไปนานๆ
ผู้สูงอายุหลายคนเมื่อไปพบแพทย์มักจะมีความหวังว่าแพทย์ต้องให้การรักษา หรือให้ยาที่จะทำให้หายจากโรคต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วทันทีทันใด แต่ในความเป็นจริงการป้องกันหรือรักษาอาการป่วยต่างๆ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย
เมื่อบุคคลเข้าสู่วัยผู้สูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ผู้สูงอายุบางคนมีสุขภาพที่พอดี ไม่อยู่ในสถานะพึ่งพา และยังมีความสามารถในเชิงเศรษฐกิจของครอบครัว
เมื่อสังคมไทยเปลี่ยนผ่านสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ ประเด็นสำคัญที่ต้องเตรียมการรับมือในอีกไม่กี่ปีข้างหน้าคือจะมีการบริหารจัดการอย่างไรเพื่อให้ผู้สูงอายุมีหลักประกันทางรายได้ โดยเฉพาะการส่งเสริมให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง