ถอดโมเดลระบบบำนาญแห่งชาติเพื่อผู้สูงอายุ
Factsheet เรื่องถอดโมเดล ระบบบำนาญแห่งชาติเพื่อผู้สูงอายุเป็นข้อสรุปจากเวทีเสวนาวิชาการ “เดินหน้า ปฏิรูประบบบำนาญแห่งชาติเพื่อผู้สูงอายุ” ที่จัด ขึ้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2557
Factsheet เรื่องถอดโมเดล ระบบบำนาญแห่งชาติเพื่อผู้สูงอายุเป็นข้อสรุปจากเวทีเสวนาวิชาการ “เดินหน้า ปฏิรูประบบบำนาญแห่งชาติเพื่อผู้สูงอายุ” ที่จัด ขึ้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2557
วิธีการออกกำลัง เพื่อป้องกันการหกล้ม
เมืองไทยมีประชากรวัยสูงอายุร้อยละ 14.7 ในปี พ.ศ. 2556 ประมาณการว่าอีก 10 ปีข้างหน้า จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มถึงร้อยละ 21.4 ในปี พ.ศ. 2566 เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพ ในการเฝ้าระวังโรคก่อนเจ็บป่วย และป้องกันไม่ให้กลายเป็นโรคเรื้อรัง รวมถึงชะลอการเกิดภาวะพึ่งพิงออกไปได้นานที่สุด
จากอดีตที่ผ่านมา ผู้มีงานทำบางประเภทเท่านั้นที่มีระบบบำนาญรองรับ ส่วนผู้มีอาชีพอิสระ เกษตรกร ซึ่งเป็นแรงงานนอกระบบยังขาดระบบบำนาญรองรับ
การสังเคราะห์ข้อเสนอระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ และการเข้าถึงและการใช้บริการรักษาพยาบาล กลุ่มผู้สูงอายุ
แผนที่ชีวิตมีสุข มีทางเดินมุ่งไป 4 ด้านอนามัยดี สังคมดี ออมดี เรียนรู้ดี ชีวีมีสุข
โครงสร้างประชากรของประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว ประชากรวัยเด็กลดลง สวนทางกับประชากรสูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น ขณะที่ประชากรวัยแรงงานเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ประชากรวัยแรงงาน 100 คน ต้องรับภาระเลี้ยงดูผู้สูงอายุถึง 16 คน เพิ่มจาก 10.7 คน ในปี 2537 ขณะที่อัตราส่วนการเป็นภาระวัยเด็กนั้นลดลงเรื่อยๆ
ในห้วงที่ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ทางการเมือง บทบาทของการเมืองของภาคประชาชนที่ต่อสู้เรื่องการเพิ่มสิทธิสวัสดิการคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐานเพื่อผู้สูงอายุไทยก็ยังคงเข้มข้นและเดินหน้าต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง
ในอดีตประเทศที่เริ่มพัฒนาระบบสวัสดิการมองว่าผู้ที่อยู่ในวัยสูงอายุจะมีความเสื่อมถอยทั้งทางรางกายและทางจิตใจ ควรจะได้พักผ่อน รับสวัสดิการจากรัฐ ฉะนั้นนิยามผู้สูงอายุจึงผูกติดกับอายุเกษียณตลอดเวลา ซึ่งเป็นแนวคิดในระยะต้น ในตอนนี้เราจึงขอเน้นคำสองคำคือ “ผู้สูงอายุ” กับ “ผู้เกษียณอายุ” จำเป็นต้องเป็นตัวเดียวกันหรือไม่