ยากันล้ม คู่มือป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุหลายคนเมื่อไปพบแพทย์มักจะมีความหวังว่าแพทย์ต้องให้การรักษา หรือให้ยาที่จะทำให้หายจากโรคต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วทันทีทันใด แต่ในความเป็นจริงการป้องกันหรือรักษาอาการป่วยต่างๆ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย
ผู้สูงอายุหลายคนเมื่อไปพบแพทย์มักจะมีความหวังว่าแพทย์ต้องให้การรักษา หรือให้ยาที่จะทำให้หายจากโรคต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วทันทีทันใด แต่ในความเป็นจริงการป้องกันหรือรักษาอาการป่วยต่างๆ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย
เมื่อบุคคลเข้าสู่วัยผู้สูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ผู้สูงอายุบางคนมีสุขภาพที่พอดี ไม่อยู่ในสถานะพึ่งพา และยังมีความสามารถในเชิงเศรษฐกิจของครอบครัว
เมื่อสังคมไทยเปลี่ยนผ่านสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ ประเด็นสำคัญที่ต้องเตรียมการรับมือในอีกไม่กี่ปีข้างหน้าคือจะมีการบริหารจัดการอย่างไรเพื่อให้ผู้สูงอายุมีหลักประกันทางรายได้ โดยเฉพาะการส่งเสริมให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง
พญ.ลัดดา ดำริการเลิศ ผู้จัดการแผนงาน มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) กล่าวว่า ในวันที่ 28 เม.ย.นี้จะเป็นช่วงเวลาของการจัดเวทีเสวนาวิชาการ “เดินหน้าปฏิรูประบบบำนาญแห่งชาติเพื่อผู้สูงอายุ”
ห้วงฤดูหนาวเริ่มต้นพร้อมกับการที่ผู้สูงวัย 60 ปี หลายแวดวงวิชาชีพเริ่มทยอยเกษียณในช่วงเดือนกันยายนที่ผ่านมา เป็นที่ทราบกันดีว่าสถานการณ์ปัจจุบันสังคมไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว
ในปี 2556 ประเทศไทยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป 8,734,101 คน คิดเป็นเกือบร้อยละ 14 จากประชากรทั้งประเทศในปีเดียวกัน 64,785,909 คน นั่นหมายความว่าประเทศไทยจะต้องวางแผนในการรับมือ
เวทีนโยบายสาธารณะ หนุนตั้ง “คณะกรรมการนโยบายบำนาญแห่งชาติ” หวังดูแลผู้สูงอายุไทย แนะประชาชนเร่งวางแผนการออมเงิน อย่ารอความช่วยเหลือจากรัฐ
พญ.ลัดดา ดำริการเลิศ รักษาการเลขาธิการมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) ให้สัมภาษณ์ในรายการ “ช่วยคิดช่วยทำ” (ตอนที่ 1-2 ) ถึงการรับมือสังคมผู้สูงอายุอย่างสุดยอดนั้นเมื่อคนเกิดน้อยลง
เรื่องเล่าของเด็กโจ้งคลำ เป็นนวนิยายของนักเขียนวัย 83 ปี ถ่ายทอดความทรงจำวัยเยาว์ ของผู้เขียนเมื่อราว 70 ปีก่อน เพื่อสะท้อนให้เห็นค่านิยม ทัศนคติ ความเชื่อ รวมถึงเงื่อนไขแวดล้อมของคนชนบทในพ.ศ.นั้น น้ำเสียงในนวนิยายเหมือนผู้สูงวัยใจดีกำลังนั่งอยู่กลางวงล้อมบุตรหลาน