ผลวิจัยเผย ผู้สูงอายุในเมืองกรุง มีคุณภาพชีวิตต่ำกว่า ผู้สูงอายุที่ใช้ชีวิตในชนบท

ด้วยสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันระหว่างเมืองหลวงอย่างกรุงเทพมหานครกับชนบททำให้วิถีชีวิตและความพึงพอใจในสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรผู้สูงวัยในกรุงเทพฯกับชนบทมีความแตกต่างกัน

noawarat

April 3, 2021

สำรวจ “สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัยในไทย” หนทางสู่คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

ปัจจัยสำคัญอย่างยิ่งที่จะทำให้ผู้สูงวัยมีพฤฒิพลัง (Active Ageing) ทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพื่อที่จะดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพเหมาะสมกับวัย นั่นก็คือ “สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรต่อผู้สูงวัย” ที่สามารถส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้สูงวัยมีกิจกรรมทางกายภาพและสังคมได้

noawarat

April 3, 2021

ครม.ไฟเขียว ตั้งกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ กำหนดให้นายจ้าง-ลูกจ้าง ร่วมสมทบ ขั้นต่ำร้อยละ 3 ของค่าจ้าง

กำหนดให้นายจ้าง-ลูกจ้าง ร่วมสมทบ ขั้นต่ำร้อยละ 3 ของค่าจ้างเสนอ 2 ทางเลือก รับบำเหน็จ หรือ บำนาญ หลังอายุครบ60 ปี หวัง ผู้สูงวัยมีหลักประกันหลังเกษียณ

noawarat

March 31, 2021

มีกิจการดูแลผู้สูงอายุยื่นขอขึ้นทะเบียนตามกฎหมายใหม่ เพียง 100 จาก 3,000 แห่ง

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เผย มีกิจการดูแลผู้สูงอายุ ยื่นขอขึ้นทะเบียนตามกฎหมายใหม่ เพียง 100 จาก 3,000 แห่ง ขีดเส้นตาย ต้องขออนุญาตก่อน 25 ก.ค. นี้ ขณะที่ผู้ให้บริการฯ ลงทะเบียนแค่หลักพันจากจำนวน 2.8 หมื่นทั่วประเทศ

noawarat

March 25, 2021

การสนับสนุนการสูงวัยในที่เดิมของประเทศไทย : ความท้าทายและทางออก

ในขณะที่การสูงวัยของประชากรไทยเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเนื่องจากการลดลงของการเกิดและการตายของคนไทย หนึ่งในปัจจัยสี่ของการดำรงชีวิตอย่าง “ที่อยู่อาศัย” ยังคงเป็นประเด็นที่สำคัญที่ท้าทายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุไทยในแง่ของความเพียงพอ คุณภาพ และความเหมาะสม

bua

March 22, 2021

การจัดการทรัพย์สินของผู้สูงอายุไทย

การศึกษาวิจัยเรื่อง การจัดการทรัพย์สินสำหรับผู้สูงอายุไทย เป็นประโยชน์ต่อการจัดการทรัพย์สินของผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพ และช่วยให้ผู้สูงอายุมีการออมที่เพียงพอเพื่อดำรงชีพในวัยสูงอายุ และมีผลต่อภาวะทางด้านจิตใจ ซึ่งในที่สุดจะส่งผลต่อสุขภาพและสุขภาวะโดยรวมของผู้สูงอายุ

bua

March 22, 2021

ปฏิรูประบบบำนาญไทยเพื่อสังคมสูงวัยในอนาคต

ปฏิรูประบบบำนาญไทยเพื่อสังคมสูงวัยในอนาคต โดย ศาสตราจารย์ ดร.วรเวศม์ สุวรรณระดา ระบบบำนาญของไทยในปัจจุบันมีหลายระบบย่อยที่มีกฎหมาย หน่วยงานรับผิดชอบ คณะกรรมการกำกับดูแล กฎกติกา และแหล่งที่มาของเงินแตกต่างกัน ระบบมีการคุ้มครองอย่างถ้วนหน้าในส่วนของบำนาญระดับพื้นฐานและบำนาญส่วนเพิ่มอื่น แต่ความครอบคลุมยังจำกัด ความพอเพียงมีเฉพาะประชาชนในบางกลุ่ม ภาระค่าใช้จ่ายด้านบำนาญมีสัดส่วนต่อรายจ่ายจริงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง นอกเหนือจากการปรับปรุงระบบที่เป็นอยู่ ในอนาคตรัฐบาลควรที่จะวางยุทธศาสตร์อย่างบูรณาการ มองผู้รับประโยชน์เป็นศูนย์กลาง และมีคณะกรรมการพิจารณาภาพรวมของระบบ

bua

March 22, 2021

เสวนา “โควิด-19 VS PM 2.5 กับการดูแลผู้สูงอายุ

เสวนา “โควิด-19 VS PM 2.5 กับการดูแลผู้สูงอายุ” แนะทางฝ่าวิกฤตด้วยการ ดูแลสุขภาพ-จิตใจตัวเอง โดยลูก-หลานต้องร่วมหนุนอีกแรง ห่วง ผู้สูงวัยในเมืองได้รับผลกระทบจากโควิด-19 มากกว่าในชนบท

noawarat

March 17, 2021

เวทีเสวนา “บำนาญแห่งชาติและเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ โจทย์เก่าเล่าใหม่” แนะ วัยทำงานเริ่มออมเงินตั้งแต่วันนี้ เพื่อเป็นทุนใช้จ่ายในวันที่หมดแรงทำงาน

การเสวนาออนไลน์ สูงวัยไปด้วยกันในหัวข้อ”บำนาญแห่งชาติและเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ โจทย์เก่าเล่าใหม่”  จัดโดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุ (มส.ผส.)โดยมีผู้ร่วมเสวนา ประกอบด้วย นางศิริลักษณ์  มีมาก  ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านผู้สูงอายุ  กรมกิจการผู้สูงอายุ , ศ.ศศิพัฒน์  ยอดเพชร  นักวิชาการด้านงานผู้สูงอายุ , ศ.ดร.วรเวศม์  สุวรรณระดา  คณะเศรษฐศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนายสว่าง  แก้วกันทา  มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุร่วมเสวนา

noawarat

February 25, 2021
1 7 8 9 10 11 28