3ระบบดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมในไทย “มส.ผส.” จับมือภาคีเครือข่าย นำร่องพัฒนาผู้ป่วยแบบไร้รอยต่อ
เปิด3ระบบดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมในไทย “มส.ผส.” จับมือภาคีเครือข่าย นำร่องพัฒนาผู้ป่วยแบบไร้รอยต่อ
เปิด3ระบบดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมในไทย “มส.ผส.” จับมือภาคีเครือข่าย นำร่องพัฒนาผู้ป่วยแบบไร้รอยต่อ
ประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแบบก้าวกระโดด โดยมีประชากรเข้าสู่วัยสูงอายุกว่าปีละล้านคนสิ่งที่ตามมาคือการรับมือกับการดูแลประชากรที่อยู่ในวัยสูงอายุโดยเฉพาะการดูแลสุขภาพอนามัย”ภาวะสมองเสื่อม” เป็นอาการที่จะเกิดขึ้นในผู้สูงอายุส่วนใหญ่ โดยพบว่าประชากรสูงอายุในประเทศไทยมีจำนวนของภาวะสมองเสื่อมโดยเฉลี่ยร้อยละ 2 ถึง 10 ซึ่งเมื่ออายุเพิ่มขึ้น โอกาสที่จะเกิดภาวะสมองเสื่อมก็มากขึ้น
ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ ในห้วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 จึงมีวัยแรงงานสูงอายุจำนวนมากได้รับผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่อาจถูกเลิกจ้าง และมีแนวโน้มว่าจะตกงานถาวร หากเทียบกับแรงงานกลุ่มอื่นในขณะที่มาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดโควิด-19 ของกระทรวงการคลัง เดือนละ 5,000 บาท เป็นเวลา 3 เดือน กลุ่มแรงงานสูงวัยนี้ อาจเข้าไม่ถึงช่องทางการขอรับเงินเยียวยา ที่จะต้องใช้การกรอกข้อมูลผ่านระบบอิเลคทรอนิกส์
ผู้สูงอายุ คือ กลุ่มที่เปราะบางที่สุดในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 จากสถิติ เพราะมีความเสี่ยงถึงขั้นเสียชีวิตได้ และเมื่อมีอายุที่มากขึ้น ความเสี่ยงก็จะมากขึ้นตาม องค์การอนามัยโลก (WHO) จึงได้จัดทำคู่มือการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเผยแพร่ผ่านเพจเฟสบุ๊คเพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถนำไปปฏิบัติตามได้
พูดเป็นเสียงเดียวกันว่าหลังสิ้นสุดการแพร่ระบาดของโควิด-19 พฤติกรรมของคนทั่วโลกจะเปลี่ยนไป จนกลายเป็น “New Normal” หรือ ชีวิตวิถีใหม่ขึ้น ในหลายๆพฤติกรรมที่ไม่ว่าจะเป็น การใส่หน้ากากอนามัย ที่จากนี้ไปจะกลายเป็นเรื่องปกติ ไม่จำเป็นว่าใส่เฉพาะตัวเองป่วยการหมั่นล้างมือบ่อยๆ หรือแม้แต่การเว้นระยะห่างทางสังคม หรือ “Social distancing” โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางอย่างผู้สูงอายุ และเด็กเล็ก
นอกจากการกินร้อน ช้อนส่วนตัว และล้างมือ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 แล้ว การรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการให้เหมาะสมกับช่วงวัย และ การกินอาการที่สร้างระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผู้สูงวัยมีสุขภาพที่แข็งแรง
เมื่อผู้สูงอายุมากกว่า 70 ปีขึ้นไป มีโอกาสเสียชีวิตจากโรคโควิด-19 มากถึงร้อยละ 12 ของผู้ป่วยสูงอายุทั้งหมด ควรเน้นย้ำหลัก 5 อ. ได้แก่ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย เอนกายพักผ่อน ออกห่างจากสังคมนอกบ้าน เพื่อป้องกันให้ผู้สูงอายุห่างไกลจากโรคโควิด-19
อัตราส่วนของผู้สูงอายุไทย พบว่า ภาคเหนือมีผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป มากถึง 21.2% ซึ่งถือว่าเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ รองลงมาคือภาคตะววันตก และภาคตะวันออก โดยกรุงเทพฯ มีผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มากถึง 13.1% ที่มา: รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2561 มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.)
ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเปราะบางต่อฝุ่น PM2.5 เพราะหากได้รับเข้าไปเป็นปริมาณมากในเวลานาน ก็จะไปสะสมอยู่ในร่างกาย จนทำให้เกิดผลร้ายต่อสุขภาพหลายประการ มาดูกันว่าฝุ่น PM2.5 ที่สูดเข้าไปทุกวันนั้นส่งผลกระทบอะไรต่อผู้สูงอายุบ้าง และผู้สูงอายุควรปฏิบัติตัวอย่างไรเพื่อหลีกเลี่ยงภัยเงียบที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่านี้