โจทย์ใหม่สังคมสูงวัยหลังยุคโควิด-19 ตอนที่ 1

ในขณะนี้ประเทศไทยมีผู้สูงอายุประมาณ 12 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 18 ของประชากรทั้งหมด และคาดว่าอีก 20 ปีจากนี้ จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็น 20 ล้านคน กลายเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด (super aged society) ที่มีจำนวนผู้สูงอายุเกินร้อย 30 ของประชากรทั้งหมด ศ.ดร.วรเวศม์ สุวรรณระดา นักวิชาการที่ศึกษาเรื่องสังคมผู้สูงวัยมาอย่างต่อเนื่อง สะท้อนมุมมองถึงสังคมสูงวัยในยุคโควิด-19 ผ่าน The101.world

noawarat

July 8, 2020

เอาชนะภาวะ “เนือยนิ่ง” ด้วย 7 กิจกรรมทางสังคม สร้างความสุขให้ผู้สูงอายุ

การทำกิจกรรมต่างๆ ตามความสนใจจะสามารถช่วยเยียวยาจิตใจผู้สูงวัยได้มาก เพราะกิจกรรมทางสังคมจะทำให้ผู้สูงอายุได้พบปะกับผู้อื่นในวัยใกล้เคียงกัน ไม่รู้สึกโดดเดี่ยว ปรับตัวและยอมรับตัวเองได้ง่ายขึ้น สนับสนุนให้พวกเขามีความนับถือในตัวเอง ป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้า

noawarat

June 27, 2020

สังเกตอย่างไรเมื่อผู้สูงวัยมีภาวะซึมเศร้า

ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุพบมากถึงร้อยละ 10-20  ของประชากรสูงอายุทั้งหมด และส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย โดยเฉพาะผู้ที่หย่าร้าง อยู่ตัวคนเดียว หรือสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก จะมีความเสี่ยงกับภาวะนี้มากขึ้น

noawarat

June 23, 2020

เปิดงานวิจัย ผู้สูงวัยกับการใช้เทคโนโลยี เผย 3 โปรแกรมยอดฮิตครองใจคนแก่ ไลน์ – เฟซบุ๊ก-ยูทูป

มส.ผส. เปิดงานวิจัย ผู้สูงวัยกับการใช้เทคโนโลยี เผย 3 โปรแกรมยอดฮิตครองใจคนแก่ ไลน์ – เฟซบุ๊ก-ยูทูป พบใช้งานสูงสุด 5 ชม.ต่อวัน เพราะอยากมีส่วนร่วมกับคนในครอบครัว-เพื่อน ด้านนักวิชาการจุฬาฯเสนอรัฐจัดสวัสดิการพื้นฐาน 5.0 ควบคู่ให้รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล แนะผลิตอุปกรณ์และแอพพลิเคชั่นเฉพาะกลุ่มสูงอายุ สร้าง พฤฒิพลัง

noawarat

June 21, 2020

ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ตอนที่ 4 : ชำแหละปัญหา-เดินหน้ายกระดับ “ตายดี”

แม้ประเทศไทยจะมีการรับรองสิทธิของผู้ป่วยในการเข้าถึงระบบดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองซึ่งถือเป็นก้าวสำคัญที่เปิดโอกาสให้เกิดการดูแลที่เน้นคุณภาพชีวิตที่ดีถึงนาทีสุดท้าย แต่กระนั้นที่ผ่านมายังพบปัญหาในระบบจัดการปัญหาและนโยบายที่มีอยู่ในปัจจุบัน หลายประการ เช่น การสนับสนุนเชิงนโยบาย ที่ประเทศไทยยังไม่มีนโยบายยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะและระยะท้ายของชีวิตและการตายดีที่เป็นทางการ  นอกจากนี้ยังไม่มีกฎหมาย หรือระเบียบหลักเกณฑ์ ที่ระบุเกี่ยวกับลักษณะของการจัดบริการของสถานพยาบาลสําหรับผู้ป่วยระยะท้ายที่ชัดเจน

noawarat

June 18, 2020

ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ตอนที่ 3 : สำรวจ 2 ทศวรรษ “ตายดี” ในไทย

ไทยได้เริ่มต้นการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายอย่างเป็นรูปธรรม ตั้งแต่ปี 2540  และขยายตัวมากขึ้นในปี 2555 จนถึง 2558  แต่ส่วนใหญ่เป็นงานพัฒนาด้านการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายมุ่งเน้นการให้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับแนวทางการให้การดูแลแบบประคับประคองแก่บุคลากรในส่วนงานบริการมากกว่าแนวทางการจัดระบบบริการ

noawarat

June 18, 2020

คนไทย “ตายดี” อันดับที่เท่าไหร่ของประชากรโลก

กว่า 50 ปีคือการจัดบริการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิตในหลายทั่วโลกโดยประเทศที่พัฒนาแล้วเริ่มจัดบริการแบบ Hospice เพื่อดูแลแบบประคับประคองในปี 2510 ก่อนที่ในปี 2546 สหภาพยุโรปได้ให้การรับรองเอกสารการปกป้องสิทธิมนุษยชน และศักดิ์ศรีของผู้ป่วยในวาระสุดท้ายและผู้ที่กำลังเสียชีวิต พร้อมออกข้อเสนอแนะสำหรับประเทศสมาชิกเกี่ยวกับการจัดระบบการดูแลแบบประคับประคอง

noawarat

June 12, 2020

ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ตอนที่ 1 : ค้นหาความหมายของ “ตายดี”

“ตายดี​-ไปสบาย”​ คือสิ่งที่ทุกคนปราถนาในช่วงวาระสุดท้ายของชีวิต เป็นที่มาของคำถามที่ว่าจะทำอย่างไรให้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย สามารถทำให้ผู้ป่วยเผชิญความตายอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์​

noawarat

June 9, 2020

เทียบมาตรการดูแลผู้สูงวัยในภาวะสมองเสื่อม ไทย –ต่างประเทศ

ประเทศไทยยังคงขาดแนวทางนโยบายในการจัดการปัญหาของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน
ขณะเดียวกันยังพบว่ามีช่องว่างในระบบจัดการปัญหา โดยเสียงสะท้อนผู้เชี่ยวชาญและบุคลากรด้านสาธารณสุข ผู้ดูแลผู้ป่วย ต่างเห็นร่วมกันว่า ระบบสาธารณสุขเพื่อดูแลผู้ป่วย ยังขาดเครื่องมือและระบบคัดกรองสมองเสื่อมที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย

noawarat

May 21, 2020
1 7 8 9 10 11 16