เปิดข้อเสนอขับเคลื่อนนโยบาย 8020 สุขภาพช่องปากเพื่อผู้สูงอายุ ตอนที่5 : ประเทศไทยกับเป้าหมาย 8020

ประเทศไทยเป็นหนึ่งในหลายประเทศที่นำแนวคิด “8020” ของญี่ปุ่นมาปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของประเทศโดยเป้าหมาย 8020 ในแบบฉบับของไทย มีแผนงานและการดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง ที่น่าสนใจดังนี้ ให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการบริการส่งเสริมป้องกันรักษาและฟื้นฟูสภาพช่องปากเพิ่มขึ้นซึ่งจะลดปริมาณผู้สูงอายุที่มีโรคในช่องปากและการสูญเสียฟัน รวมทั้งคงสภาพการใช้งานหลังเกิดโรคและการสูญเสียฟัน ตลอดจนสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง

noawarat

December 12, 2020

ถอดความสำเร็จของญี่ปุ่น กว่าครึ่งของผู้สูงอายุ 80 ปีมีฟันแท้ไม่น้อยกว่า 20 ซี่

ชาวญี่ปุ่นอายุมากกว่า 80 ปีขึ้นไป ยังมีฟันแท้ไม่น้อยกว่า 20 ซี่ ถึงร้อยละ 51.2  สิ่งนี้เป็นผลพวงมาจากการดำเนินนโยบาย8020 ที่ตั้งเป้าไว้ว่า ให้คนรักษาฟันของตัวเองไว้ให้ได้อย่างน้อย 20 ซี่ แม้อยู่ในวัย 80

noawarat

December 11, 2020

ระบบบริการด้านทันตสุขภาพทั่วโลก พบปัญหาความไม่เท่าเทียม

องค์การอนามัยโลก (WHO ) เปิดเผยเกี่ยวกับผลการศึกษา ในประเด็น สุขภาพช่องปาก: ความเสมอภาคและปัจจัยทางสังคม โดยชี้ว่า ยังมีความไม่เท่าเทียมกันในระบบบริการสุขภาพช่องปากในหลายประเทศ จนกลายเป็นปัญหาของโลก โดยความไม่เท่าเทียมกันเหล่านี้แตกต่างกันไปตามขนาดและขอบเขต 

noawarat

December 10, 2020

เช็คพฤติกรรมดูแลฟันผู้สูงอายุ ผลสำรวจชี้ พบหมอฟันแค่1ใน3 ยังเจอความเสี่ยงดื่มสุรา -สูบบุหรี่เฉลี่ยวันละ9มวน

เปิดข้อเสนอขับเคลื่อนนโยบาย 80 / 20 สุขภาพช่องปากเพื่อผู้สูงอายุ ตอนที่2: เช็คพฤติกรรมดูแลฟันผู้สูงอายุ  ผลสำรวจชี้ พบหมอฟันแค่1ใน3  ยังเจอความเสี่ยงดื่มสุรา -สูบบุหรี่เฉลี่ยวันละ9มวน

noawarat

December 9, 2020

เปิดข้อเสนอขับเคลื่อนนโยบาย 8020 สุขภาพช่องปากเพื่อผู้สูงอายุ ตอนที่ 1

“สุขภาพช่องปากที่ดี” จะส่งผลให้มีสุขภาพดี  และจะส่งผลต่อการมีอายุยืนยาวที่มีคุณภาพด้วย  ซึ่งสุขภาพช่องปาก ไม่ได้หมายถึงการไม่มีโรคของช่องปากเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการมีฟันเพียงพอที่จะเคี้ยวอาหารด้วยในรายงาน “จัดทำข้อเสนอการขับเคลื่อนนโยบาย 8020 สุขภาพช่องปากเพื่อผู้สูงอายุ” โดย   ทพญ.ฉวีวรรณ ภักดีธนากุล  ภายใต้การสนับสนุนของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) ได้ระบุประเด็นปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุที่สำคัญ 7 ปัญหา

noawarat

December 7, 2020

จับเข่าคุย 3 นักวิชาการ ทำอย่างไรให้มีอยู่-มีกินในยามชรา

ในเวทีเสวนาหลักประกันทางการเงินสำหรับผู้สูงอายุ ที่จัดขึ้นโดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.)  ซึ่งประกอบไปด้วย รศ.ดร.สันติ กิรพัฒน์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,    ดร.วรเวศม์ สุวรรณระดา คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ดร.สุภารัตน์ ตันทนงศักดิ์กุล คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้มีการพูดคุยถึง เรื่องนี้ ในหัวข้อ “สังคมสูงอายุ : ความพร้อมที่ต้องตั้งรับ กับความท้าทายที่ไทยต้องเผชิญ

noawarat

December 7, 2020

เอกชนเห็นพ้อง “คุ้มค่า” จ้างงานผู้สูงอายุ แต่ยังขาดแรงจูงใจจากรัฐเท่าที่ควร

แรงจูงใจในการจ้างงานผู้สูงอายุของบริษัทเอกชน มีเหตุผลแตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นการจ้างงาน เพราะผลจากการลงนามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านการส่งเสริมการมีงานทำให้ผู้สูงอายุ , การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีผ่านการทำ CSR หรือ มีปัญหาขาดแคลนกำลังแรงงาน และอัตราการลาออกที่สูงในบางตำแหน่งงานแต่ทว่าผลลัพท์ของการรับผู้สูงอายุเข้าทำงานกลับได้ผลที่ “คุ้มค่า” 

noawarat

November 25, 2020

เปิดเงินเดือนผู้สูงอายุในบริษัทเอกชน

หนึ่งในการรับมือความเปลี่ยนแปลงในการเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ของประเทศไทยคือการจ้างงานผู้สูงอายุที่มีวัยมากกว่า 55 ปี หรือ หลังเกษียณ ในระบบแรงงานภายใต้แนวคิดที่ว่าผู้สูงอายุมีศักยภาพ ประสบการณ์และมีวินัยในการใช้ชีวิต ซึ่งยังคงคุณค่าและเป็นแบบอย่างให้กับคนรุ่นใหม่ได้อยู่f

noawarat

November 24, 2020

เปิดงานวิจัย “รูปแบบการจ้างงานผู้สูงอายุไทยในภาคเอกชน”

86 ปี คืออายุที่มากที่สุดของลูกจ้างที่ถูกบริษัทค้าปลีกจ้างงาน ตามผลการศึกษาเรื่อง “รูปแบบการจ้างงานผู้สูงอายุในภาคเอกชนของไทย ความยืดหยุ่น ผลิตภาพ และความคุ้มครอง โดย ดร.ชลธิชา  อัศวนิรันดร วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 

noawarat

November 22, 2020
1 10 11 12 13 14 29