ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ตอนที่ 1 : ค้นหาความหมายของ “ตายดี”
“ตายดี-ไปสบาย” คือสิ่งที่ทุกคนปราถนาในช่วงวาระสุดท้ายของชีวิต เป็นที่มาของคำถามที่ว่าจะทำอย่างไรให้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย สามารถทำให้ผู้ป่วยเผชิญความตายอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
“ตายดี-ไปสบาย” คือสิ่งที่ทุกคนปราถนาในช่วงวาระสุดท้ายของชีวิต เป็นที่มาของคำถามที่ว่าจะทำอย่างไรให้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย สามารถทำให้ผู้ป่วยเผชิญความตายอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ประเทศไทยยังคงขาดแนวทางนโยบายในการจัดการปัญหาของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน
ขณะเดียวกันยังพบว่ามีช่องว่างในระบบจัดการปัญหา โดยเสียงสะท้อนผู้เชี่ยวชาญและบุคลากรด้านสาธารณสุข ผู้ดูแลผู้ป่วย ต่างเห็นร่วมกันว่า ระบบสาธารณสุขเพื่อดูแลผู้ป่วย ยังขาดเครื่องมือและระบบคัดกรองสมองเสื่อมที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย
เปิด3ระบบดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมในไทย “มส.ผส.” จับมือภาคีเครือข่าย นำร่องพัฒนาผู้ป่วยแบบไร้รอยต่อ
ประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแบบก้าวกระโดด โดยมีประชากรเข้าสู่วัยสูงอายุกว่าปีละล้านคนสิ่งที่ตามมาคือการรับมือกับการดูแลประชากรที่อยู่ในวัยสูงอายุโดยเฉพาะการดูแลสุขภาพอนามัย”ภาวะสมองเสื่อม” เป็นอาการที่จะเกิดขึ้นในผู้สูงอายุส่วนใหญ่ โดยพบว่าประชากรสูงอายุในประเทศไทยมีจำนวนของภาวะสมองเสื่อมโดยเฉลี่ยร้อยละ 2 ถึง 10 ซึ่งเมื่ออายุเพิ่มขึ้น โอกาสที่จะเกิดภาวะสมองเสื่อมก็มากขึ้น
ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ ในห้วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 จึงมีวัยแรงงานสูงอายุจำนวนมากได้รับผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่อาจถูกเลิกจ้าง และมีแนวโน้มว่าจะตกงานถาวร หากเทียบกับแรงงานกลุ่มอื่นในขณะที่มาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดโควิด-19 ของกระทรวงการคลัง เดือนละ 5,000 บาท เป็นเวลา 3 เดือน กลุ่มแรงงานสูงวัยนี้ อาจเข้าไม่ถึงช่องทางการขอรับเงินเยียวยา ที่จะต้องใช้การกรอกข้อมูลผ่านระบบอิเลคทรอนิกส์
ผู้สูงอายุ คือ กลุ่มที่เปราะบางที่สุดในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 จากสถิติ เพราะมีความเสี่ยงถึงขั้นเสียชีวิตได้ และเมื่อมีอายุที่มากขึ้น ความเสี่ยงก็จะมากขึ้นตาม องค์การอนามัยโลก (WHO) จึงได้จัดทำคู่มือการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเผยแพร่ผ่านเพจเฟสบุ๊คเพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถนำไปปฏิบัติตามได้
พูดเป็นเสียงเดียวกันว่าหลังสิ้นสุดการแพร่ระบาดของโควิด-19 พฤติกรรมของคนทั่วโลกจะเปลี่ยนไป จนกลายเป็น “New Normal” หรือ ชีวิตวิถีใหม่ขึ้น ในหลายๆพฤติกรรมที่ไม่ว่าจะเป็น การใส่หน้ากากอนามัย ที่จากนี้ไปจะกลายเป็นเรื่องปกติ ไม่จำเป็นว่าใส่เฉพาะตัวเองป่วยการหมั่นล้างมือบ่อยๆ หรือแม้แต่การเว้นระยะห่างทางสังคม หรือ “Social distancing” โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางอย่างผู้สูงอายุ และเด็กเล็ก
นอกจากการกินร้อน ช้อนส่วนตัว และล้างมือ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 แล้ว การรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการให้เหมาะสมกับช่วงวัย และ การกินอาการที่สร้างระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผู้สูงวัยมีสุขภาพที่แข็งแรง
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) ได้จัดทำอินโฟกราฟฟิกรวมชุดความรู้”Do-Don’t” ผู้สูงอายุ ฝ่าวิฤตโควิด-19 เพื่่อเผยแพร่ให้กับผู้สูงอายุหรือครบครัวที่มีผู้สูงอายุได้ใช้ดูแลตัวเองอย่างถูกต้องให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโควิด-19